วันอาทิตย์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2550

ระดมความคิดเห็น

1. นวัตกรรมการศึกษา

1.1 ความหมายของนวัตกรรมการศึกษานวตกรรม หรือ นวกรรม มาจากคำว่า“นว” หมายถึง ใหม่“กรรม” หมายถึง การกระทำเมื่อนำสองคำนี้มารวมกัน เป็น นวตกรรม หรือนวกรรม จึงหมายถึงการกระทำ ใหม่ ๆ โดยสรุปแล้ว นวัตกรรมหมายถึง ความคิดและการกระทำใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อนหรือการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมให้ดีขึ้นและเมื่อนำมาใช้งานก็ทำให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อนำนวัตกรรมมาใช้ในการศึกษาเราก็เรียกว่านวัตกรรมการศึกษา
1.2 ประเภทของนวัตกรรม
1. เทคนิคและวิธีการ เป็นกลวิธีหรือกิจกรรมหรือวิธีสอน ทำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
2. สิ่งประดิษฐ์ เป็นวัสดุหรืออุปกรณ์ที่นำไปใช้ในการเรียนการสอน เช่น บทเรียนสำเร็จรูป ชุดการสอน เป็นต้น
1.3 ขั้นตอนการเกิดนวัตกรรมมี 3 ขั้นตอน คือ
1. มีการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่(invention)
2. มีการพัฒนาปรับปรุงโดยผ่านกระบวนการทดลองวิจัย(devellopment)
3. มีการนำไปปฏิบัติในสถานการณ์จริงแต่ยังไม่แพร่หลาย(innovation)
1.4 การยอมรับและปฏิเสธนวัตกรรมการยอมรับนวัตกรรม
1. ขั้นตื่นตัวหรือรับทราบ (awareness) เป็นขั้นแรกที่บุคคลรับรู้ว่ามีความคิดใหม่ สิ่งใหม่หรือวิธีปฏิบัติใหม่ๆ เกิดขึ้นแล้วนวัตกรรมมีอยู่จริง แต่ยังไม่มีข้อมูลรายละเอียดของสิ่งนั้นอยู่
2. ขั้นสนใจ (interest) เป็นขั้นที่บุคคลจะรู้สึกสนใจในนวัตกรรมนั้นทันทีที่เขาเห็นว่าตรงกับปัญหาที่เขาประสบอยู่ หรือตรงกับความสนใจ และจะเริ่มหาข้อเท็จจริงและข่าวสารมากขึ้น โดยอาจสอบถามจากเพื่อนซึ่งได้เคยทดลองทำมาแล้ว หรือเสาะหาความรู้จากผู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมนั้นเพื่อสนองตอบความอยากรู้ของตนเอง
3. ขั้นประเมินผล (evaluation) ในขั้นตอนนี้บุคคลจะพิจารณาว่า นวัตกรรมนั้นจะมีความเหมาะสมกับเขาหรือไม่ จะให้ผลคุ้มค่าเพียงใด หลังจากที่ได้ศึกษานวัตกรรมนั้นมาระยะหนึ่งแล้ว นวัตกรรมนั้นมีความยากและข้อจำกัดสำหรับเขาเพียงใด และจะปรับให้เข้ากับสถานการณ์ได้อย่างไร แล้วจึงตัดสินใจว่าจะทดลองใช้ความคิดใหม่ๆ นั้นหรือไม่
4. ขั้นทดลอง (trial) เป็นขั้นตอนที่บุคคลได้ผ่านการไตร่ตรองมาแล้วและตัดสินใจที่จะทดลองปฏิบัติตามความคิดใหม่ๆ ซึ่งอาจทดลองเพียงบางส่วนหรือทั้งหมด การทดลองปฏิบัตินี้เป็นเพียงการยอมรับนวัตกรรมชั่วคราว เพื่อดูผลว่าควรจะตัดสินใจยอมรับโดยถาวรหรือไม่
5. ขั้นยอมรับปฏิบัติ (adoption) ถ้าการทดลองของบุคคลได้ผลเป็นที่น่าพอใจ ก็จะยอมรับความคิดใหม่ๆ อย่างเต็มที่และขยายการปฏิบัติออกไปเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งนวัตกรรมนั้นกลายเป็นวิธีการที่เขายึดถือปฏิบัติโดยถาวรต่อไป ซึ่งถือเป็นขั้นสุดท้ายของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวรการปฏิเสธนวัตกรรม
1. ความเคยชินกับวิธีการเดิมๆ เนื่องจากบุคคลมีความเคยชินกับวิธีการเดิมๆ ที่ตนเองเคยใช้และพึงพอใจในประสิทธิภาพของวิธีการนั้นๆ บุคคลผู้นั้นก็มักที่จะยืนยันในการใช้วิธีการนั้นๆ ต่อไปโดยยากที่จะเปลี่ยนแปลง
2. ความไม่แน่ใจในประสิทธิภาพของนวัตกรรม แม้บุคคลผู้นั้นจะทราบข่าวสารของนวัตกรรมนั้นๆ ในแง่ของประสิทธิภาพว่าสามารถนำไปใช้แก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดีก็ตาม การที่ตนเองมิได้เป็นผู้ทดลองใช้นวัตกรรมนั้นๆ ก็ย่อมทำให้ไม่แน่ใจว่านวัตกรรมนั้นๆ มีประสิทธิภาพจริงหรือไม่
3. ความรู้ของบุคคลต่อนวัตกรรม เนื่องจากนวัตกรรมเป็นสิ่งที่โดยมากแล้วบุคคลส่วนมากมีความรู้ไม่เพียงพอแก่การที่จะเข้าใจในนวัตกรรมนั้นๆ ทำให้มีความรู้สึกท้อถอยที่จะเข้าใจในนวัตกรรมนั้นๆ
4. ข้อจำกัดทางด้านงบประมาณ โดยทั่วไปแล้วนวัตกรรมมักจะต้องนำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการพัฒนานวัตกรรม ดังนั้นค่าใช้จ่ายของนวัตกรรมจึงดูว่ามีราคาแพง
1.5 การนำนวัตกรรมมาใช้กับการศึกษาAsynchronous Learning คือการนำความก้าวหน้าของเทคโนโลยี การสื่อสาร และความสามารถของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ได้แก่ ระบบโทรทัศน์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รวมทั้งโปรแกรมสำเร็จรูป (Software) ต่าง ๆ มาใช้ให้เป็นประโยชน์ เพื่อการศึกษา
1. แหล่งข้อมูลระยะไกล (Remote Resource) ที่ต้องใช้เครื่องมือ และเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2. การเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive Learning)
3.การเรียนแบบร่วมมือกัน (Collabrative Learning) เป็นการเรียนแบบช่วยเหลือกัน ซึ่งการเรียนแบบนี้คือ นักเรียนร่วมกันทำงานในกลุ่มเล็ก ๆ เพื่อบรรลุเป้าหมายหลักร่วมกัน
4. การเรียนการสอน ที่ไม่จำเป็นต้องเรียนตามตารางสอน (Teaching and Learning in Asynchronous Learning) เป็นการเรียนการสอนแบบ Asynchronous ซึ่งผู้สอน และผู้เรียนมีบทบาท การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หมายถึง วิธีการเรียนการสอนในรูปแบบของไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia) ที่ผู้เรียนได้ใช้ประโยชน์จากแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยผ่านระบบเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) เป็นสื่อในการสนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้ (Khan H. Badrul. 1997 : 6)

2. แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้

2.1 ความหมายของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ หมายถึง ศูนย์รวมของวิชาความรู้ที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติ บุคคล สิ่งประดิษฐ์ วัตถุ อาคาร สถานที่ ซึ่งมีอยู่กระจัดกระจาย ทั้งชุมชนเมืองและชุมชนชนบท อันเป็นขุมทรัพย์แห่งปัญญาที่แทรกซึมอยู่ในวิถีชีวิตของมนุษย์ เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ค้นพบได้อย่างไม่รู้จบ
2.2 ประเภทของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้จำแนกเป็น 4 ประเภทใหญ่ คือ
1. แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ประเภทบุคคล หมายถึง บุคคลที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม มีผลงานได้รับการยกย่อง เป็นที่ยอมรับของสังคมซึ่งถือเป็นตัวอย่างต้นแบบกับบุคคลรุ่นหลังสืบไปในหลายสาขาอาชีพ
2. แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ประเภททรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สภาพธรรมชาติที่มีอยู่แล้วในโลกและอวกาศ ซึ่งไม่ได้หมายถึงสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ เช่น ภูเขา ป่าไม้ ลำธาร ห้วย หนอง คลอง บึง แม่น้ำ และสัตว์ป่านานาชนิด เป็นต้น
3. แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ประเภทสื่อ หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ของมนุษย์ที่ใช้เป็นช่องทางการสื่อสาร แยกได้ 2 ประเภท คือ(1) สื่อทางด้านกายภาพ ได้แก่ วัสดุ ลักษณะสิ่งพิมพ์ ฟิล์ม แผ่นภาพโปร่งใส เทปบันทึกภาพ เทปบันทึกเสียง แผ่น CD ชนิดเสียงและภาพ เป็นต้น อุปกรณ์ เป็นตัวช่องทางผ่านในลักษณะเครื่องฉาย เครื่องเสียงชนิดต่างๆ เป็นต้น(2) สื่อทางด้านวิธีการ ได้แก่ รูปแบบที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ ทั้งการใช้เทคโนโลยีพื้นบ้าน และเทคโนโลยีระดับสูง ได้แก่ สื่อท้องถิ่น สื่อกิจกรรม
4. แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ประเภทวัตถุและอาคารสถานที่ หมายถึง วัตถุและอาคารสถานที่ ที่มีศักยภาพเป็นแหล่งความรู้ด้วยตัวของมันเอง สามารถสื่อความหมายโดยลำพังตัวเอง เช่น สถาปัตยกรรมด้านการก่อสร้าง จิตรกรรมภาพฝาผนัง ปูชนียวัตถุด้านประวัติศาสตร์ ชิ้นส่วนของธรรมชาติที่ให้ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ โบราณวัตถุทางด้านศาสนา พิพิธภัณฑ์ เป็นต้น
2.3 ประโยชน์ของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่มีต่อการศึกษาประโยชน์ของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้นี้ผู้เรียนทุกๆ คน สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลาและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันให้ก่อประโยชน์สูงสุด
2.4 การนำแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้มาใช้กับการเรียนการสอนแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่แท้จริงต้องสามารถสัมผัสกับบรรยากาศและสถานการณ์จริงโดยเอื้อประโยชน์ต่อกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งการเรียนรู้นั้นเกิดได้กับผู้เรียนทุกคน ทุกเวลา มีความหมาย มีความหลากหลาย สามารถเน้นทักษะและนำไปใช้ในชีวิตจริงได้ ผู้เรียนมีอิสระในการตัดสินใจ คิดริเริ่มและปฏิบัติได้อย่างมีความสุข

3. คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน

3.1 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ 1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง ส่วนกายภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ - หน่วยรับข้อมูล เช่น หน่วยบันทึก แผงแป้นอักขระ - หน่วยความจำ เช่น ชิป (Chip) หรือหน่วยความจำสำรอง เช่น จานบันทึก - หน่วยแสดงผล เช่น เครื่องพิมพ์และจอภาพ 2 ซอฟต์แวร์ (Software) คือ ชุดคำสั่งที่สร้างขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย ชุดคำสั่งเพื่อควบคุมการทำงานของเครื่อง หรือเป็นชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นโดยโปรแกรมเมอร์เพื่อให้สามารถทำงานเฉพาะอย่างได้ เช่น งานบัญชี งานพิมพ์เอกสาร งานวาดภาพ เป็นต้น 3 ส่วนบุคลากร (Peopleware) หมายถึง บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ - ระดับบริหาร (Administration) - ระดับวิชาการ (Technical) - ระดับปฏิบัติการ (Data Processing)
3.2 ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer - Assisted Instruction) หมายถึง การนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในกิจกรรมการเรียนการสอนในเนื้อหาวิชาต่าง ๆ นำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อการจัดการศึกษาและการเรียนการสอน
3.4 ประเภทของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
1. โปรแกรมเพื่อการฝึกหัดและปฏิบัติ (Drill and Practica
2. โปรแกรมเพื่อการสอน (Tutorial)
3. โปรแกรมจำลองสถานการณ์ (Simulation)
4. เกมทางการศึกษา (Educational Games)
5. โปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา (Problem Solving)
3.5 ข้อดี ข้อจำกัดข้อดี
1. ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนช้าหรือเร็วได้ตามระดับความสามารถของตนเอง
2. ไม่จำกัดสถานที่เรียน
3. สามารถเรียนจากสื่อประสม
4. การทราบผลการเรียนทันทีข้อจำกัด
1. ขาดซอฟแวร์บทเรียนที่มีคุณภาพ
2. ขาดบุคลากรที่มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์
3. ครุภัณฑ์มีราคาสูง
3.6 การออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
1.ใช้สอนแทนผู้สอน ทั้งในและนอกห้องเรียน ทั้งระบบสอนแทน, บททบทวน และสอนเสริม
2. ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนทางไกล ผ่านสื่อโทรคมนาคม เช่น ผ่านดาวเทียม เป็นต้น
3. ใช้สอนเนื้อหาที่ซับซ้อน ไม่สามารถแสดงข้องจริงได้ เช่น โครงสร้างของโมเลกุลของสาร
4. เป็นสื่อช่วยสอน วิชาที่อันตราย โดยการสร้างสถานการณ์จำลอง เช่น การสอนขับเครื่องบิน การควบคุมเครื่องจักรกลขนาดใหญ่
5. เป็นสื่อแสดงลำดับขั้น ของเหตุการณ์ที่ต้องการให้เห็นผลอย่างชัดเจน และช้า เช่น การทำงานของมอเตอร์รถยนต์ หรือหัวเทียน
6. เป็นสื่อฝึกอบรมพนักงานใหม่ โดยไม่ต้องเสียเวลาสอนซ้ำหลายๆ หน
7. สร้างมาตรฐานการสอน
3.7 การใช้และการประเมินผลคอมพิวเตอร์มีบทบาทต่อชีวิตประชาชนโดยทั่วไป ดังนั้นนักศึกษาจึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

4.1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า Information Technology หรือ ITสารสนเทศมีคุณลักษณะที่สำคัญอยู่ 3 ประการ คือ
1. เป็นข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว
2. เป็นรูปแบบที่มีประโยชน์ นำไปใช้งานได้
3. มีคุณค่าสำหรับใช้ในการดำเนินงานและการตัดสินใจเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา หมายถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านการศึกษา อันได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล และประมวลผลฐานข้อมูล การพัฒนาระบบสารสนเทศช่วยการเรียนการสอน การวางแผนและการบริหารการศึกษา การวางแผนหลักสูตร การแนะแนวและบริการ การทดสอบวัดผล การพัฒนาบุคลากร
4.2 ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา- คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการเรียนการสอน- คอมพิวเตอร์ช่วยสอน- คอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอน- คอมพิวเตอร์นำเสนอ- เว็บล็อค- การสอนทางโทรศัพท์- ห้องสมุดอิเล็คทรอนิกส์
4.3 ข้อดี-ข้อจำกัดของเทคโนโลยีสารสนเทศข้อดี
1. การเรียนการสอนที่กว้างขวาง
2. เรียนรู้นอกสถานที่เรียนได้
3. สะดวกในการเรียนการสอนข้อจำกัด
1. ค่าใช้จ่ายสูง
2. บุคลากรเชี่ยวชาญ
4.4 แนวทางการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับการศึกษาการเรียนผ่านด้วยระบบดาวเทียมหรือที่เรียกว่าการศึกษาทางไกล
4.5 การประเมินผลการใช้งานประเมินจากการปฏิบัติ แบบทดสอบและแบบสอบถาม เป็นต้น

วันเสาร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2550

ประเด็นการอภิปราย "สื่อมวลชนกับการศึกษา"

บทนำ ปัจจุบันชีวิตของมนุษย์ย่อมเกี่ยวข้องกับการสื่อมวลชนไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่ง เป็นที่ยอมรับกันว่าสื่อมวลชนมีอิทธิพลเหนือจิตใจของประชาชน ซึ่งถูกกำหนดและชักจูงให้เกิดความรู้สึกหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไป ทั้งที่รู้ตัวและไม่รู้ตัว สื่อมวลชนเองก็จะต้องตระหนักในหน้าที่ที่จะต้องกระทำและมองดูบทบาทของตนที่จะมีส่วนในการจรรโลงสังคมให้ดีขึ้น และปรับบทบาทของตนให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และช่วยเป็นกระจกสะท้อนภาพปัญหาและทางแก้ไขปัญหาให้สังคมด้วย สื่อมวลชน หมายถึงอะไร สื่อมวลชน หมายถึง สื่อประเภทต่างๆ เช่น วารสาร โปสเตอร์ หนังสือพิมพ์ เมื่อนำสื่อมวลชนมาศึกษาจึงเรียกว่า “สื่อมวลชนเพื่อการศึกษา” หมายถึง การนำสื่อมวลชนมาใช้เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดความรู้เนื้อหาบทเรียนไปยังผู้เรียนหรือผู้รับจำนวนมากได้ในเวลาเดียวกัน รูปแบบจำลองการสื่อสารมวลชน การสื่อสารมวลชนจะมีลักษณะเป็นการสื่อสารทางเดียว เพราะแทบจะไม่มีการป้อนกลับของข้อมูลส่งกลับไปยังผู้รับเลย แต่ในบางครั้งในการสื่อสารอาจจะมีการป้อนกลับของข้อมูลได้แต่ก็เป็นเพียงการป้อนกลับโดยอนุมาน
ประเภทของสื่อมวลชน จำแนกออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ1. สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ วารสาร ตำราเรียน 2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือสื่อระบบไฟฟ้า ได้แก วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ สื่อมวลชนมีบทบาทหน้าที่อะไรบ้าง
สื่อมวลชนมีหน้าที่สำคัญ 5 ประการ ดังนี้1. ให้ข่าวสารและรายงานความเคลื่อนไหวของเหตุการณ์ต่างๆ2. เป็นแหล่งกลางในการเสนอความคิดเห็นหรือข้อโต้แย้งต่อปัญหาที่เกิดในสังคม3. ให้สาระบันเทิงแก่ประชาชน4. ให้ความรู้ทางการศึกษาและบำรุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ5. ให้บริการด้านธุรกิจการค้าหน้าที่สำคัญดังกล่าวเป็นหน้าที่โดยทั่วไปของสื่อมวลชน แต้สื่อมวลชนจะมีบทบาทและหน้าที่นอกเหนือกว่านั้นในประเทศที่กำลังพัฒนา ดังนี้1.การเสนอข่าว การทำให้ประชาชนมีความตื่นตัวมากขึ้น การยกระดับความต้องการของประชาชนเพื่อเป้าหมายของการพัฒนา และการสร้างบรรยากาศ2.การมีบทบาทในกระบวนการตัดสินใจของสังคม สื่อมวลชนจะมีบทบาทในทางอ้อมโดยการให้ข้อมูลข่าวสารต่างๆแก่ประชาชน 3.การสอน สื่อมวลชนสามารถช่วยในการศึกษาและฝึกอบรมทุกประเภท สามารถช่วยสนับสนุนระบบการศึกษา สื่อมวลชนที่มีอิทธิพลต่อสังคมมากที่สุดในปัจจุบันคือ เพราะอะไร? โทรทัศน์ เพราะในปัจจุบันนี้แต่ละบ้านก็มีโทรทัศน์ดูกัน โทรทัศน์มีราคาที่ถูกทำให้ทุกบ้านต่างก็มีรับชม รับฟังกันทำให้ผู้ชมรายการทางโทรทัศน์มีมากไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ ทำให้มีอิทธิพลในการลอกเลียนแบบตามโทรทัศน์ เช่น การแต่งกายของดาราที่แต่งกายโป๊ทำให้เด็กแต่งกายตามแบบดาราและทำให้เกิดการฆ่าข่มขืนการมากขึ้น มีความคิดเห็นอย่างไร? กับคำกล่าวที่ว่าสื่อมวลชนเปรียบเหมือนดาบสองคม
ประชาชนจะรับทราบข่าวสารข้อเท็จจริง ที่ได้จากแหล่งข่าวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างตรงไปตรงมา มิใช่เกิดจากการสอดใส่ความคิดหรือค่านิยมส่วนตัวลงไป ดังนั้นสื่อมวลชนมีทั้งแง่บวกและแง่ลบถ้าประชาชนเลือกชมรายการที่เหมาะสมกับวัย เพศ อายุ ระดับการศึกษา มีความคิดเห็นกับการจัดเรตติ้งทางทีวีอย่างไร ? สื่อมวลชนในการเก็บรวบรวมข่าวสาร ที่อาจมีผลกระทบต่อสมาชิกในสังคมและทำการกระจายข่าวสารออกไปให้สมาชิกในสังคมได้ทราบ ซึ่งหน้าที่นี้ตรงกับหน้าที่ของการสื่อสารโดยทั่วไป คือ การแจ้งให้ทราบ (to inform) ซึ่ง Lasswell เรียกว่าบทบาทในการตรวจตราสอดส่อง (surveillance role) ซึ่งสื่อจะเป็นผู้สำรวจดูสิ่งที่อยู่รอบตัวและตีความหมายสิ่งที่เห็นรายงานให้สังคมทราบ สื่อมวลชนจะเป็นผู้เฝ้าดูเหตุการณ์หรือเรื่องราวใดที่เกิดขึ้นภายในสังคมที่ผูรับสารควรรับทราบ สื่อมวลชนก็จะเลือกมานำเสนอ ซึ่งเข้าลักษณะการกลั่นกรองข่าวสารก่อนถึงมือผูรับซึ่งเราเรียกบทบาทนี้ว่า ผู้เฝ้าประตู(Gate Keeper) และเตือนสังคมให้รับทราบสิ่งที่เป็นอันตรายต่อชุมชน (เช่น วินาศภัยตามธรรมชาติ การเพิ่มของสถิติอาชญากรรมตัวชี้เกี่ยวกับเศรษฐกิจ ฯลฯ) ถ้าเกิดการเตือนภัยขึ้นอย่างถูกต้องตามเวลา ชุมชนก็อาจจะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่อยู่รอบตัวเพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นได้ ถ้าไม่มีเวลาแก้ไขเปลี่ยนแปลง ชุมชนก็สามารถเตรียมตัวเผชิญกับอันตรายต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง นอกจากการเตือนภัยแล้ว สื่อมวลชนก็ยังมีหน้าที่นำเสนอเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน เช่น การแนะนำเกี่ยวกับการใช้ยา การเสนอข่าวการขึ้นลงของตลาดหุ้น ฯลฯ ในสังคมประชาธิปไตย ที่ซึ่งรัฐบาลสามารถรับฟังเสียงประชาชน ประชาชนจึงสามารถเสนอสิ่งต่างๆ ให้รัฐบาลเพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจต่อไป SMS มีผลดีผลเสียกับสังคมอย่างไร ? ผลดี คือ รับรู้ข่าวสารที่เป็นทันสมัยต่อเหตุการณ์ไม่ว่าจะเป็นข่าวบ้านเมือง อาชญากรรม ดารา ส่งหาเพื่อน อวยพรวันเกิด วันขึ้นปีใหม่ ส่วนผลเสีย คือ เสียค่าใช้จ่ายในการส่งสูงและการโหวตให้ดารา นักร้องที่ชื่นชอบ เป็นการสินเปลือยค่าใช้จ่าย โหวตชิงรางวัลทำให้ผู้ชมสนใจและโหวตเข้าไปในรายการให้มากๆ การนำสื่อมวลชนมาใช้ในการศึกษา จะเกิดประโยชน์กับการศึกษา หรือการเรียนการสอนอย่างไรบ้าง ?
1. เครื่องมือในการสอน ผู้สอนสามารถนำรายการวิทยุ โทรทัศน์ มาผนวกกับการสอน และเป็นสื่อที่ให้เนื้อหาความรู้เกี่ยวกับบทเรียนนั้นโดยตรง 2.เครื่องมือในการปฏิบัติการ โดยการใช้กล้องโทรทัศน์ช่วยในการจับภาพจากกล้องจุลทัศน์เพื่อฉายให้ผู้เรียนเห็นบนจอรับภาพ3.สื่อสอนแทนครู ในกรณีที่มีการขาดแคลนครู ก็อาจใช้วิทยุหรือโทรทัศน์เพื่ออกอากาศการสอนได้4.เพื่อเสริมความรู้ เป็นการใช้รายการวิทยุ โทรทัศน์ ข่าวสารบทความเสริมให้ผู้เรียนได้รับความรู้5.อุปกรณ์การสอนจุลภาค/มหภาค โดยการบันทึกวีดิทัศน์การสอนหรือการปฏิบัติของผู้เรียนแต่ละคน 6.สื่อในการศึกษาระบบเปิด โดยใช้วิทยุหรือโทรทัศน์เป็นสื่อเพื่อดำเนินการสอนส่งไปยังผู้เรียนที่อยู่ตามบ้าน 7. อุปกรณ์ในการบันทึกเรื่องราวสำคัญ การแสดง การทดลอง การบรรยายโดยวิทยากร ที่ออกอากาศทางวิทยุ สามารถบันทึกลงวีดิทัศน์ เทปบันทึกเสียง และสิ่งพิมพ์ได้8. แหล่งการเรียนรู้ เป็นการรวบรวมวัสดุที่บันทึกเรื่องราวสำคัญต่างๆ ไว้เพื่อการศึกษาค้นคว้า โดยอาจเก็บไว้ในห้องสมุด9. ให้ผู้เรียนหรือผู้ฟัง/ผู้ชมร่วมในรายการ 10. เพิ่มความเป็นธรรมในสังคม โดยการให้ความเสมอภาคทางการศึกษาแก่ผู้ที่ต้องออกจากโรงเรียน ผู้เรียนกลุ่มพิเศษ โดยการใช้สื่อวิทยุ โทรทัศน์ วีดิทัศน์11. เพื่อบริการสังคม เพื่อการเสนอข่าวสาร ความรู้ สาระบันเทิง ตลอดจนการศึกษาทั้งทางตรง และทางอ้อม จะมีแนวทางในการนำสื่อมวลชนมาใช้กับการศึกษาอย่างไร?
จำแนกได้ 3 วิธี คือ1. ใช้เป็นแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับวิชาเรียน2. ใช้เป็นวัสดุการเรียนร่วมกับสื่ออื่นๆ3. ใช้เป็นสื่อเสริมในการเรียนรู้และเพิ่มพูนประสบการณ์สื่อสิ่งพิมพ์ทั้ง 3 วิธี ผู้สอนสามารถนำสิ่งพิมพ์ทั้งที่เป็นสิ่งพิมพ์ทั่วไปหรือเพื่อการศึกษาโดยเฉพาะมาใช้ในการเรียนการสอน โดยพิจารณาตามลักษณะของสิ่งพิมพ์และลักษณะของการใช้ ดังนี้1. สิ่งพิมพ์ที่เขียนขึ้นในลักษณะของหนังสือตำรา2. สิ่งพิมพ์ที่เขียนขึ้นในลักษณะบทเรียนสำเร็จรูปเพื่อง่ายต่อการศึกษา3. สิ่งพิมพ์เสริมการเรียนการสอน เช่น แบบปฏิบัติ 4. สิ่งพิมพ์ทั่วไปๆ ไป เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์5. สิ่งพิมพ์ประเภทภาพชุด
สรุปสาระสำคัญ สื่อมวลชน หมายถึง สื่อประเภทต่างๆ เช่น วารสาร โปสเตอร์ หนังสือพิมพ์ เมื่อนำสื่อมวลชนมาศึกษาจึงเรียกว่า “สื่อมวลชนเพื่อการศึกษา” หมายถึง การนำสื่อมวลชนมาใช้เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดความรู้เนื้อหาบทเรียนไปยังผู้เรียนหรือผู้รับจำนวนมากได้ในเวลาเดียวกัน การสื่อสารมวลชนจะมีลักษณะเป็นการสื่อสารทางเดียว เพราะแทบจะไม่มีการป้อนกลับของข้อมูลส่งกลับไปยังผู้รับเลย แต่ในบางครั้งในการสื่อสารอาจจะมีการป้อนกลับของข้อมูลได้แต่ก็เป็นเพียงการป้อนกลับโดยอนุมาน สื่อมีทั้งแง่บวกและแง่ลบถ้าทุกคนเลือกรับสื่อที่เป็นประโยชน์และเหมาะสมกับวัย อายุ การศึกษา จะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

ประเด็นการอภิปราย "สื่อมวลชนกับการศึกษา"

บทนำ ปัจจุบันชีวิตของมนุษย์ย่อมเกี่ยวข้องกับการสื่อมวลชนไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่ง เป็นที่ยอมรับกันว่าสื่อมวลชนมีอิทธิพลเหนือจิตใจของประชาชน ซึ่งถูกกำหนดและชักจูงให้เกิดความรู้สึกหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไป ทั้งที่รู้ตัวและไม่รู้ตัว สื่อมวลชนเองก็จะต้องตระหนักในหน้าที่ที่จะต้องกระทำและมองดูบทบาทของตนที่จะมีส่วนในการจรรโลงสังคมให้ดีขึ้น และปรับบทบาทของตนให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และช่วยเป็นกระจกสะท้อนภาพปัญหาและทางแก้ไขปัญหาให้สังคมด้วย สื่อมวลชน หมายถึงอะไร สื่อมวลชน หมายถึง สื่อประเภทต่างๆ เช่น วารสาร โปสเตอร์ หนังสือพิมพ์ เมื่อนำสื่อมวลชนมาศึกษาจึงเรียกว่า “สื่อมวลชนเพื่อการศึกษา” หมายถึง การนำสื่อมวลชนมาใช้เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดความรู้เนื้อหาบทเรียนไปยังผู้เรียนหรือผู้รับจำนวนมากได้ในเวลาเดียวกัน รูปแบบจำลองการสื่อสารมวลชน การสื่อสารมวลชนจะมีลักษณะเป็นการสื่อสารทางเดียว เพราะแทบจะไม่มีการป้อนกลับของข้อมูลส่งกลับไปยังผู้รับเลย แต่ในบางครั้งในการสื่อสารอาจจะมีการป้อนกลับของข้อมูลได้แต่ก็เป็นเพียงการป้อนกลับโดยอนุมาน
ประเภทของสื่อมวลชน จำแนกออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ1. สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ วารสาร ตำราเรียน 2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือสื่อระบบไฟฟ้า ได้แก วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ สื่อมวลชนมีบทบาทหน้าที่อะไรบ้าง
สื่อมวลชนมีหน้าที่สำคัญ 5 ประการ ดังนี้1. ให้ข่าวสารและรายงานความเคลื่อนไหวของเหตุการณ์ต่างๆ2. เป็นแหล่งกลางในการเสนอความคิดเห็นหรือข้อโต้แย้งต่อปัญหาที่เกิดในสังคม3. ให้สาระบันเทิงแก่ประชาชน4. ให้ความรู้ทางการศึกษาและบำรุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ5. ให้บริการด้านธุรกิจการค้าหน้าที่สำคัญดังกล่าวเป็นหน้าที่โดยทั่วไปของสื่อมวลชน แต้สื่อมวลชนจะมีบทบาทและหน้าที่นอกเหนือกว่านั้นในประเทศที่กำลังพัฒนา ดังนี้1.การเสนอข่าว การทำให้ประชาชนมีความตื่นตัวมากขึ้น การยกระดับความต้องการของประชาชนเพื่อเป้าหมายของการพัฒนา และการสร้างบรรยากาศ2.การมีบทบาทในกระบวนการตัดสินใจของสังคม สื่อมวลชนจะมีบทบาทในทางอ้อมโดยการให้ข้อมูลข่าวสารต่างๆแก่ประชาชน 3.การสอน สื่อมวลชนสามารถช่วยในการศึกษาและฝึกอบรมทุกประเภท สามารถช่วยสนับสนุนระบบการศึกษา สื่อมวลชนที่มีอิทธิพลต่อสังคมมากที่สุดในปัจจุบันคือ เพราะอะไร? โทรทัศน์ เพราะในปัจจุบันนี้แต่ละบ้านก็มีโทรทัศน์ดูกัน โทรทัศน์มีราคาที่ถูกทำให้ทุกบ้านต่างก็มีรับชม รับฟังกันทำให้ผู้ชมรายการทางโทรทัศน์มีมากไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ ทำให้มีอิทธิพลในการลอกเลียนแบบตามโทรทัศน์ เช่น การแต่งกายของดาราที่แต่งกายโป๊ทำให้เด็กแต่งกายตามแบบดาราและทำให้เกิดการฆ่าข่มขืนการมากขึ้น มีความคิดเห็นอย่างไร? กับคำกล่าวที่ว่าสื่อมวลชนเปรียบเหมือนดาบสองคม
ประชาชนจะรับทราบข่าวสารข้อเท็จจริง ที่ได้จากแหล่งข่าวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างตรงไปตรงมา มิใช่เกิดจากการสอดใส่ความคิดหรือค่านิยมส่วนตัวลงไป ดังนั้นสื่อมวลชนมีทั้งแง่บวกและแง่ลบถ้าประชาชนเลือกชมรายการที่เหมาะสมกับวัย เพศ อายุ ระดับการศึกษา มีความคิดเห็นกับการจัดเรตติ้งทางทีวีอย่างไร ? สื่อมวลชนในการเก็บรวบรวมข่าวสาร ที่อาจมีผลกระทบต่อสมาชิกในสังคมและทำการกระจายข่าวสารออกไปให้สมาชิกในสังคมได้ทราบ ซึ่งหน้าที่นี้ตรงกับหน้าที่ของการสื่อสารโดยทั่วไป คือ การแจ้งให้ทราบ (to inform) ซึ่ง Lasswell เรียกว่าบทบาทในการตรวจตราสอดส่อง (surveillance role) ซึ่งสื่อจะเป็นผู้สำรวจดูสิ่งที่อยู่รอบตัวและตีความหมายสิ่งที่เห็นรายงานให้สังคมทราบ สื่อมวลชนจะเป็นผู้เฝ้าดูเหตุการณ์หรือเรื่องราวใดที่เกิดขึ้นภายในสังคมที่ผูรับสารควรรับทราบ สื่อมวลชนก็จะเลือกมานำเสนอ ซึ่งเข้าลักษณะการกลั่นกรองข่าวสารก่อนถึงมือผูรับซึ่งเราเรียกบทบาทนี้ว่า ผู้เฝ้าประตู(Gate Keeper) และเตือนสังคมให้รับทราบสิ่งที่เป็นอันตรายต่อชุมชน (เช่น วินาศภัยตามธรรมชาติ การเพิ่มของสถิติอาชญากรรมตัวชี้เกี่ยวกับเศรษฐกิจ ฯลฯ) ถ้าเกิดการเตือนภัยขึ้นอย่างถูกต้องตามเวลา ชุมชนก็อาจจะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่อยู่รอบตัวเพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นได้ ถ้าไม่มีเวลาแก้ไขเปลี่ยนแปลง ชุมชนก็สามารถเตรียมตัวเผชิญกับอันตรายต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง นอกจากการเตือนภัยแล้ว สื่อมวลชนก็ยังมีหน้าที่นำเสนอเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน เช่น การแนะนำเกี่ยวกับการใช้ยา การเสนอข่าวการขึ้นลงของตลาดหุ้น ฯลฯ ในสังคมประชาธิปไตย ที่ซึ่งรัฐบาลสามารถรับฟังเสียงประชาชน ประชาชนจึงสามารถเสนอสิ่งต่างๆ ให้รัฐบาลเพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจต่อไป SMS มีผลดีผลเสียกับสังคมอย่างไร ? ผลดี คือ รับรู้ข่าวสารที่เป็นทันสมัยต่อเหตุการณ์ไม่ว่าจะเป็นข่าวบ้านเมือง อาชญากรรม ดารา ส่งหาเพื่อน อวยพรวันเกิด วันขึ้นปีใหม่ ส่วนผลเสีย คือ เสียค่าใช้จ่ายในการส่งสูงและการโหวตให้ดารา นักร้องที่ชื่นชอบ เป็นการสินเปลือยค่าใช้จ่าย โหวตชิงรางวัลทำให้ผู้ชมสนใจและโหวตเข้าไปในรายการให้มากๆ การนำสื่อมวลชนมาใช้ในการศึกษา จะเกิดประโยชน์กับการศึกษา หรือการเรียนการสอนอย่างไรบ้าง ?
1. เครื่องมือในการสอน ผู้สอนสามารถนำรายการวิทยุ โทรทัศน์ มาผนวกกับการสอน และเป็นสื่อที่ให้เนื้อหาความรู้เกี่ยวกับบทเรียนนั้นโดยตรง 2.เครื่องมือในการปฏิบัติการ โดยการใช้กล้องโทรทัศน์ช่วยในการจับภาพจากกล้องจุลทัศน์เพื่อฉายให้ผู้เรียนเห็นบนจอรับภาพ3.สื่อสอนแทนครู ในกรณีที่มีการขาดแคลนครู ก็อาจใช้วิทยุหรือโทรทัศน์เพื่ออกอากาศการสอนได้4.เพื่อเสริมความรู้ เป็นการใช้รายการวิทยุ โทรทัศน์ ข่าวสารบทความเสริมให้ผู้เรียนได้รับความรู้5.อุปกรณ์การสอนจุลภาค/มหภาค โดยการบันทึกวีดิทัศน์การสอนหรือการปฏิบัติของผู้เรียนแต่ละคน 6.สื่อในการศึกษาระบบเปิด โดยใช้วิทยุหรือโทรทัศน์เป็นสื่อเพื่อดำเนินการสอนส่งไปยังผู้เรียนที่อยู่ตามบ้าน 7. อุปกรณ์ในการบันทึกเรื่องราวสำคัญ การแสดง การทดลอง การบรรยายโดยวิทยากร ที่ออกอากาศทางวิทยุ สามารถบันทึกลงวีดิทัศน์ เทปบันทึกเสียง และสิ่งพิมพ์ได้8. แหล่งการเรียนรู้ เป็นการรวบรวมวัสดุที่บันทึกเรื่องราวสำคัญต่างๆ ไว้เพื่อการศึกษาค้นคว้า โดยอาจเก็บไว้ในห้องสมุด9. ให้ผู้เรียนหรือผู้ฟัง/ผู้ชมร่วมในรายการ 10. เพิ่มความเป็นธรรมในสังคม โดยการให้ความเสมอภาคทางการศึกษาแก่ผู้ที่ต้องออกจากโรงเรียน ผู้เรียนกลุ่มพิเศษ โดยการใช้สื่อวิทยุ โทรทัศน์ วีดิทัศน์11. เพื่อบริการสังคม เพื่อการเสนอข่าวสาร ความรู้ สาระบันเทิง ตลอดจนการศึกษาทั้งทางตรง และทางอ้อม จะมีแนวทางในการนำสื่อมวลชนมาใช้กับการศึกษาอย่างไร?
จำแนกได้ 3 วิธี คือ1. ใช้เป็นแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับวิชาเรียน2. ใช้เป็นวัสดุการเรียนร่วมกับสื่ออื่นๆ3. ใช้เป็นสื่อเสริมในการเรียนรู้และเพิ่มพูนประสบการณ์สื่อสิ่งพิมพ์ทั้ง 3 วิธี ผู้สอนสามารถนำสิ่งพิมพ์ทั้งที่เป็นสิ่งพิมพ์ทั่วไปหรือเพื่อการศึกษาโดยเฉพาะมาใช้ในการเรียนการสอน โดยพิจารณาตามลักษณะของสิ่งพิมพ์และลักษณะของการใช้ ดังนี้1. สิ่งพิมพ์ที่เขียนขึ้นในลักษณะของหนังสือตำรา2. สิ่งพิมพ์ที่เขียนขึ้นในลักษณะบทเรียนสำเร็จรูปเพื่อง่ายต่อการศึกษา3. สิ่งพิมพ์เสริมการเรียนการสอน เช่น แบบปฏิบัติ 4. สิ่งพิมพ์ทั่วไปๆ ไป เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์5. สิ่งพิมพ์ประเภทภาพชุด
สรุปสาระสำคัญ สื่อมวลชน หมายถึง สื่อประเภทต่างๆ เช่น วารสาร โปสเตอร์ หนังสือพิมพ์ เมื่อนำสื่อมวลชนมาศึกษาจึงเรียกว่า “สื่อมวลชนเพื่อการศึกษา” หมายถึง การนำสื่อมวลชนมาใช้เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดความรู้เนื้อหาบทเรียนไปยังผู้เรียนหรือผู้รับจำนวนมากได้ในเวลาเดียวกัน การสื่อสารมวลชนจะมีลักษณะเป็นการสื่อสารทางเดียว เพราะแทบจะไม่มีการป้อนกลับของข้อมูลส่งกลับไปยังผู้รับเลย แต่ในบางครั้งในการสื่อสารอาจจะมีการป้อนกลับของข้อมูลได้แต่ก็เป็นเพียงการป้อนกลับโดยอนุมาน สื่อมีทั้งแง่บวกและแง่ลบถ้าทุกคนเลือกรับสื่อที่เป็นประโยชน์และเหมาะสมกับวัย อายุ การศึกษา จะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

ประเด็นการอภิปราย "สื่อมวลชนกับการศึกษา"

บทนำ ปัจจุบันชีวิตของมนุษย์ย่อมเกี่ยวข้องกับการสื่อมวลชนไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่ง เป็นที่ยอมรับกันว่าสื่อมวลชนมีอิทธิพลเหนือจิตใจของประชาชน ซึ่งถูกกำหนดและชักจูงให้เกิดความรู้สึกหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไป ทั้งที่รู้ตัวและไม่รู้ตัว สื่อมวลชนเองก็จะต้องตระหนักในหน้าที่ที่จะต้องกระทำและมองดูบทบาทของตนที่จะมีส่วนในการจรรโลงสังคมให้ดีขึ้น และปรับบทบาทของตนให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และช่วยเป็นกระจกสะท้อนภาพปัญหาและทางแก้ไขปัญหาให้สังคมด้วย สื่อมวลชน หมายถึงอะไร สื่อมวลชน หมายถึง สื่อประเภทต่างๆ เช่น วารสาร โปสเตอร์ หนังสือพิมพ์ เมื่อนำสื่อมวลชนมาศึกษาจึงเรียกว่า “สื่อมวลชนเพื่อการศึกษา” หมายถึง การนำสื่อมวลชนมาใช้เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดความรู้เนื้อหาบทเรียนไปยังผู้เรียนหรือผู้รับจำนวนมากได้ในเวลาเดียวกัน รูปแบบจำลองการสื่อสารมวลชน การสื่อสารมวลชนจะมีลักษณะเป็นการสื่อสารทางเดียว เพราะแทบจะไม่มีการป้อนกลับของข้อมูลส่งกลับไปยังผู้รับเลย แต่ในบางครั้งในการสื่อสารอาจจะมีการป้อนกลับของข้อมูลได้แต่ก็เป็นเพียงการป้อนกลับโดยอนุมาน
ประเภทของสื่อมวลชน จำแนกออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ1. สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ วารสาร ตำราเรียน 2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือสื่อระบบไฟฟ้า ได้แก วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ สื่อมวลชนมีบทบาทหน้าที่อะไรบ้าง
สื่อมวลชนมีหน้าที่สำคัญ 5 ประการ ดังนี้1. ให้ข่าวสารและรายงานความเคลื่อนไหวของเหตุการณ์ต่างๆ2. เป็นแหล่งกลางในการเสนอความคิดเห็นหรือข้อโต้แย้งต่อปัญหาที่เกิดในสังคม3. ให้สาระบันเทิงแก่ประชาชน4. ให้ความรู้ทางการศึกษาและบำรุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ5. ให้บริการด้านธุรกิจการค้าหน้าที่สำคัญดังกล่าวเป็นหน้าที่โดยทั่วไปของสื่อมวลชน แต้สื่อมวลชนจะมีบทบาทและหน้าที่นอกเหนือกว่านั้นในประเทศที่กำลังพัฒนา ดังนี้1.การเสนอข่าว การทำให้ประชาชนมีความตื่นตัวมากขึ้น การยกระดับความต้องการของประชาชนเพื่อเป้าหมายของการพัฒนา และการสร้างบรรยากาศ2.การมีบทบาทในกระบวนการตัดสินใจของสังคม สื่อมวลชนจะมีบทบาทในทางอ้อมโดยการให้ข้อมูลข่าวสารต่างๆแก่ประชาชน 3.การสอน สื่อมวลชนสามารถช่วยในการศึกษาและฝึกอบรมทุกประเภท สามารถช่วยสนับสนุนระบบการศึกษา สื่อมวลชนที่มีอิทธิพลต่อสังคมมากที่สุดในปัจจุบันคือ เพราะอะไร? โทรทัศน์ เพราะในปัจจุบันนี้แต่ละบ้านก็มีโทรทัศน์ดูกัน โทรทัศน์มีราคาที่ถูกทำให้ทุกบ้านต่างก็มีรับชม รับฟังกันทำให้ผู้ชมรายการทางโทรทัศน์มีมากไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ ทำให้มีอิทธิพลในการลอกเลียนแบบตามโทรทัศน์ เช่น การแต่งกายของดาราที่แต่งกายโป๊ทำให้เด็กแต่งกายตามแบบดาราและทำให้เกิดการฆ่าข่มขืนการมากขึ้น มีความคิดเห็นอย่างไร? กับคำกล่าวที่ว่าสื่อมวลชนเปรียบเหมือนดาบสองคม
ประชาชนจะรับทราบข่าวสารข้อเท็จจริง ที่ได้จากแหล่งข่าวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างตรงไปตรงมา มิใช่เกิดจากการสอดใส่ความคิดหรือค่านิยมส่วนตัวลงไป ดังนั้นสื่อมวลชนมีทั้งแง่บวกและแง่ลบถ้าประชาชนเลือกชมรายการที่เหมาะสมกับวัย เพศ อายุ ระดับการศึกษา มีความคิดเห็นกับการจัดเรตติ้งทางทีวีอย่างไร ? สื่อมวลชนในการเก็บรวบรวมข่าวสาร ที่อาจมีผลกระทบต่อสมาชิกในสังคมและทำการกระจายข่าวสารออกไปให้สมาชิกในสังคมได้ทราบ ซึ่งหน้าที่นี้ตรงกับหน้าที่ของการสื่อสารโดยทั่วไป คือ การแจ้งให้ทราบ (to inform) ซึ่ง Lasswell เรียกว่าบทบาทในการตรวจตราสอดส่อง (surveillance role) ซึ่งสื่อจะเป็นผู้สำรวจดูสิ่งที่อยู่รอบตัวและตีความหมายสิ่งที่เห็นรายงานให้สังคมทราบ สื่อมวลชนจะเป็นผู้เฝ้าดูเหตุการณ์หรือเรื่องราวใดที่เกิดขึ้นภายในสังคมที่ผูรับสารควรรับทราบ สื่อมวลชนก็จะเลือกมานำเสนอ ซึ่งเข้าลักษณะการกลั่นกรองข่าวสารก่อนถึงมือผูรับซึ่งเราเรียกบทบาทนี้ว่า ผู้เฝ้าประตู(Gate Keeper) และเตือนสังคมให้รับทราบสิ่งที่เป็นอันตรายต่อชุมชน (เช่น วินาศภัยตามธรรมชาติ การเพิ่มของสถิติอาชญากรรมตัวชี้เกี่ยวกับเศรษฐกิจ ฯลฯ) ถ้าเกิดการเตือนภัยขึ้นอย่างถูกต้องตามเวลา ชุมชนก็อาจจะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่อยู่รอบตัวเพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นได้ ถ้าไม่มีเวลาแก้ไขเปลี่ยนแปลง ชุมชนก็สามารถเตรียมตัวเผชิญกับอันตรายต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง นอกจากการเตือนภัยแล้ว สื่อมวลชนก็ยังมีหน้าที่นำเสนอเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน เช่น การแนะนำเกี่ยวกับการใช้ยา การเสนอข่าวการขึ้นลงของตลาดหุ้น ฯลฯ ในสังคมประชาธิปไตย ที่ซึ่งรัฐบาลสามารถรับฟังเสียงประชาชน ประชาชนจึงสามารถเสนอสิ่งต่างๆ ให้รัฐบาลเพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจต่อไป SMS มีผลดีผลเสียกับสังคมอย่างไร ? ผลดี คือ รับรู้ข่าวสารที่เป็นทันสมัยต่อเหตุการณ์ไม่ว่าจะเป็นข่าวบ้านเมือง อาชญากรรม ดารา ส่งหาเพื่อน อวยพรวันเกิด วันขึ้นปีใหม่ ส่วนผลเสีย คือ เสียค่าใช้จ่ายในการส่งสูงและการโหวตให้ดารา นักร้องที่ชื่นชอบ เป็นการสินเปลือยค่าใช้จ่าย โหวตชิงรางวัลทำให้ผู้ชมสนใจและโหวตเข้าไปในรายการให้มากๆ การนำสื่อมวลชนมาใช้ในการศึกษา จะเกิดประโยชน์กับการศึกษา หรือการเรียนการสอนอย่างไรบ้าง ?
1. เครื่องมือในการสอน ผู้สอนสามารถนำรายการวิทยุ โทรทัศน์ มาผนวกกับการสอน และเป็นสื่อที่ให้เนื้อหาความรู้เกี่ยวกับบทเรียนนั้นโดยตรง 2.เครื่องมือในการปฏิบัติการ โดยการใช้กล้องโทรทัศน์ช่วยในการจับภาพจากกล้องจุลทัศน์เพื่อฉายให้ผู้เรียนเห็นบนจอรับภาพ3.สื่อสอนแทนครู ในกรณีที่มีการขาดแคลนครู ก็อาจใช้วิทยุหรือโทรทัศน์เพื่ออกอากาศการสอนได้4.เพื่อเสริมความรู้ เป็นการใช้รายการวิทยุ โทรทัศน์ ข่าวสารบทความเสริมให้ผู้เรียนได้รับความรู้5.อุปกรณ์การสอนจุลภาค/มหภาค โดยการบันทึกวีดิทัศน์การสอนหรือการปฏิบัติของผู้เรียนแต่ละคน 6.สื่อในการศึกษาระบบเปิด โดยใช้วิทยุหรือโทรทัศน์เป็นสื่อเพื่อดำเนินการสอนส่งไปยังผู้เรียนที่อยู่ตามบ้าน 7. อุปกรณ์ในการบันทึกเรื่องราวสำคัญ การแสดง การทดลอง การบรรยายโดยวิทยากร ที่ออกอากาศทางวิทยุ สามารถบันทึกลงวีดิทัศน์ เทปบันทึกเสียง และสิ่งพิมพ์ได้8. แหล่งการเรียนรู้ เป็นการรวบรวมวัสดุที่บันทึกเรื่องราวสำคัญต่างๆ ไว้เพื่อการศึกษาค้นคว้า โดยอาจเก็บไว้ในห้องสมุด9. ให้ผู้เรียนหรือผู้ฟัง/ผู้ชมร่วมในรายการ 10. เพิ่มความเป็นธรรมในสังคม โดยการให้ความเสมอภาคทางการศึกษาแก่ผู้ที่ต้องออกจากโรงเรียน ผู้เรียนกลุ่มพิเศษ โดยการใช้สื่อวิทยุ โทรทัศน์ วีดิทัศน์11. เพื่อบริการสังคม เพื่อการเสนอข่าวสาร ความรู้ สาระบันเทิง ตลอดจนการศึกษาทั้งทางตรง และทางอ้อม จะมีแนวทางในการนำสื่อมวลชนมาใช้กับการศึกษาอย่างไร?
จำแนกได้ 3 วิธี คือ1. ใช้เป็นแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับวิชาเรียน2. ใช้เป็นวัสดุการเรียนร่วมกับสื่ออื่นๆ3. ใช้เป็นสื่อเสริมในการเรียนรู้และเพิ่มพูนประสบการณ์สื่อสิ่งพิมพ์ทั้ง 3 วิธี ผู้สอนสามารถนำสิ่งพิมพ์ทั้งที่เป็นสิ่งพิมพ์ทั่วไปหรือเพื่อการศึกษาโดยเฉพาะมาใช้ในการเรียนการสอน โดยพิจารณาตามลักษณะของสิ่งพิมพ์และลักษณะของการใช้ ดังนี้1. สิ่งพิมพ์ที่เขียนขึ้นในลักษณะของหนังสือตำรา2. สิ่งพิมพ์ที่เขียนขึ้นในลักษณะบทเรียนสำเร็จรูปเพื่อง่ายต่อการศึกษา3. สิ่งพิมพ์เสริมการเรียนการสอน เช่น แบบปฏิบัติ 4. สิ่งพิมพ์ทั่วไปๆ ไป เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์5. สิ่งพิมพ์ประเภทภาพชุด
สรุปสาระสำคัญ สื่อมวลชน หมายถึง สื่อประเภทต่างๆ เช่น วารสาร โปสเตอร์ หนังสือพิมพ์ เมื่อนำสื่อมวลชนมาศึกษาจึงเรียกว่า “สื่อมวลชนเพื่อการศึกษา” หมายถึง การนำสื่อมวลชนมาใช้เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดความรู้เนื้อหาบทเรียนไปยังผู้เรียนหรือผู้รับจำนวนมากได้ในเวลาเดียวกัน การสื่อสารมวลชนจะมีลักษณะเป็นการสื่อสารทางเดียว เพราะแทบจะไม่มีการป้อนกลับของข้อมูลส่งกลับไปยังผู้รับเลย แต่ในบางครั้งในการสื่อสารอาจจะมีการป้อนกลับของข้อมูลได้แต่ก็เป็นเพียงการป้อนกลับโดยอนุมาน สื่อมีทั้งแง่บวกและแง่ลบถ้าทุกคนเลือกรับสื่อที่เป็นประโยชน์และเหมาะสมกับวัย อายุ การศึกษา จะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

ย้ำ ! “แร่ธาตุ” สารอาหารที่ขาดไม่ได้ในชีวิต

ช่วยเสริมสร้างกระดูก-ฟัน ช่วยป้องกันป่วยเป็นโรคโลหิตจาง



แร่ธาตุ เป็นสารอาหารประเภทหนึ่งที่ร่างกายขาดไม่ได้ แม้ว่าจะต้องการเพียงเล็กน้อยก็ตาม ในร่างกายประกอบด้วยแร่ธาตุรวมกันเพียงร้อยละ 3-4 ของน้ำหนักตัวเท่านั้น แร่ธาตุทำให้ร่างกายทำงานได้ตามปกติ ดำรงชีวิตอยู่ได้ตามปกติสุข การกินอาหารครบ 5 หมู่ แลกินให้หลากหลายในปริมาณที่พอเพียง จะทำให้ร่างกายได้รับแร่ธาตุอย่างเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ในทางตรงกันข้าม หากกินไม่พอก็ต้องเป็นโรคขาดแร่ธาตุอย่างแน่นอน ซึ่งปัจจุบันทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยกำลังประสบปัญหาพลโลกจำนวนหลายร้อยล้านคนขาดแร่ธาตุเหล็ก และโรคกระดูกพรุนจากการขาดแคลเซียม เป็นต้น แร่ธาตุ 3 ชนิดแรกที่จะกล่าวต่อไปนี้ ประชาชนคนไทยมักจะได้รับไม่พอได้แก่



แคลเซียม พบมากใน นม และผลิตภัณฑ์นม ปลา ปลาเล็ก ปลาน้อย ปลากระป๋อง กุ้ง กะปิ ถั่วเมล็ดแห้ง ผักใบเขียวเข้ม หน้าที่ของแคลเซียมคือ เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของกระดูกและฟัน เพราะมีแคลเซียมอยู่มากถึงร้อยละ 99 ของแคลเซียมทั้งหมดที่มีอยู่ในร่างกาย นอกจากนี้ แคลเซียมยังช่วยให้ประสาทและกล้ามเนื้อทำงานได้ตามปกติและยังช่วยให้เลือดแข็งตัวได้ด้วย การขาดแคลเซียมในเด็ก จะเป็นโรคกระดูกอ่อน ขาโก่ง ในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุเกิดโรคกระดูกพรุนได้



เหล็ก พบมากใน เครื่องในสัตว์ โดยเฉพาะตับ เลือด ไต เนื้อสัตว์ ปลา และผักใบเขียวเข้ม ร่ายกายจะดูดซึมธาตุเหล็กจากเนื้อสัตว์ได้ดีกว่าในพืช แต่ถ้ากินวิตามินซีร่วมต้อยจะช่วยการดูดซึมได้ดีขึ้น เหล็กทำหน้าที่สร้างเม็ดเลือดแดงที่เป็นส่วนประกอบของฮีโมโกลบิน ทำหน้าที่นำออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ถ้าขาดธาตุเหล็กก็จะสร้างเม็ดเลือดไม่ได้ นำไปสู่การเป็นโรคโลหิตจาง โดยเฉพาะถ้าเกิดกับหญิงตั้งครรภ์จะทำให้แท้ง คลอดก่อนกำหนด และทารกแรกเกิด มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ถ้าเป็นกับเด็กก็จะทำให้เจ็บป่วยง่าย เติบโตช้า สมรรถภาพการเรียนด้อย ปัจจุบันการขาดธาตุเหล็กเป็นปัญหาสาธารณะสุขของประเทศไทย



ไอโอดีน พบมากในอาหารทะเลทุกชนิดและอาหารที่ปรุงด้วยเกลือเสริมไอโอดีน ไอโอดีนมีหน้าที่สำคัญคือ ใช้ในการผลิตฮอร์โมนสำหรับการควบคุมการเผาผลาญอาหารให้เป็นพลังงาน และพัฒนาทางด้านร่างกายและสติปัญญา ดังนั้น คนที่ขาดสารไอโอดีนจะมีอาการคอพอก และถ้าหญิงตั้งครรภ์ขาดจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการทำให้ลูกเกิดมาเป็น “โรคเอ๋อ” ถ้าเด็กวัยเรียนได้รับไม่พอจะทำให้ประสิทธิภาพในการเรียนด้อยลง



ซิลิเนียม พบมากใน เครื่องในสัตว์ ปลา อาหารทะเล นมและผลิตภัณฑ์นม ถั่วเมล็ดแห้ง ผลไม้รสเปรี้ยว เป็นสารอาหารตัวหนึ่งที่เป็นสารต่อต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันการเกิดมะเร็งบางชนิด ช่วยบำรุงสุขภาพของเส้นผม ผิวหนัง และสายตาให้เป็นปกติ ถ้าขาดซีลีเนียมอย่างรุนแรง โดยเฉพาะในเด็กเล็กจะทำให้หัวใจวายได้



สังกะสี พบมากใน อาหารทะเล โดยเฉพาะหอยนางรม เนื้อสัตว์ ไข่ นม และธัญพืช เป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อและเอนไซม์หลายชนิดที่ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยการเจริญเติบโตของร่างกาย ช่วยเจริญอาหาร ช่วยให้มองเห็นในเวลากลางคืน และเผาผลาญแอลกอฮอล์ ถ้าขาดสังกะสีจะมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้สูง ยิ่งถ้าขาดในเด็กและวัยรุ่นจะทำให้การเจริญเติบโตล่าช้าและพัฒนาการทางเพศบกพร่อง



แมงกานีส พบมากใน ถั่วเมล็ดแห้ง ข้าวกล้อง ธัญพืช ร่างกายใช้แมงกานีสในการผลิตฮอร์โมนทางเพศ ช่วยการสะสมกลูโคสไว้ที่ตับ และช่วยให้กระดูกเจริญเติบโตได้อย่างเต็มที่ การขาดแมงกานีสแทบจะไม่พบเลย



โพแทสเซียม พบมากใน ถั่วเมล็ดแห้ง ธัญพืช มะเขือเทศ มันฝรั่ง และผลไม้สด โดยเฉพาะกล้วย และส้ม มีหน้าที่ทำให้กล้ามเนื้อเซลล์ประสาท ทำหน้าที่ได้ตามปกติ การขาดโพแทสเซียมพบน้อยมาก



แมกนีเซียม พบมากใน ข้าวกล้อง ถั่วเมล็ดแห้ง ผักใบเขียว ธัญพืช เป็นส่วนประกอบของกระดูกและฟัน ช่วยหดตัวของกล้ามเนื้อไม่ค่อยมีปัญหาการขาดแมกนีเซียม หากกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ อย่างพอเพียง



โซเดียม พบมากในรูปของเกลือ และผลิตภัณฑ์อาหารที่ใช้เกลือปรุงและถนอมอาหาร ทำหน้าที่ควบคุมปริมาณน้ำทั้งหมดในร่างกายและสร้างความสมดุลของของเหลวในร่างกาย ควบคุมการทำงานของประสาท และกล้ามเนื้อ แทบจะไม่พบการขาดโซเดียม แต่ถ้าได้รับโซเดียมมากเกินไปจะขับออกทางไต เกิดอาการบวมและความดันโลหิตสูง



นอกจากนี้ร่างกายยังต้องการแร่ธาตุอื่นๆ อีก นอกจากกล่าวมาแล้ว เช่น ทองแดง ฟลูออไรด์ โอลิบดินัม ซัลเฟอร์ และโครเมียม เป็นต้น



กินอาหารให้เพียงพอและสมดุลทุกวันร่างกายของท่านจะได้รับแร่ธาตุอย่างพอเพียง